ยินดีต้อนรับเข้าสู่ www.drprapat.com
Content อัพเดทล่าสุด
IR 4.0
IR ย่อมาจาก International Relations ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ซึ่งเป็นสาขาวิชาที่ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ การทูต การเมืองระหว่างประเทศ ความมั่นคงระหว่างประเทศ และเศรษฐกิจระหว่างประเทศ คอลัมน์กระบวนทรรศน์ในวันนี้ จะวิเคราะห์ IR หรือการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในอดีตของไทย และ IR ในอนาคต โดยผมจะเสนอว่า IR ในอนาคต
สงครามเย็น 2019 (ตอนที่ 3)
คอลัมน์กระบวนทรรศน์หนังสือพิมพ์ไทยโพสต์ฉบับวันที่ 14 มีนาคม 2562 เป็นเรื่องสงครามเย็น 2019 (ตอนที่ 2) ซึ่งผมได้วิเคราะห์สถานการณ์โลกในปัจจุบันว่า กำลังเข้าสู่ยุคสงครามเย็นภาค 2 ซึ่งเป็นความขัดแย้งระหว่างสหรัฐฝ่ายหนึ่ง กับจีนและรัสเซียอีกฝ่ายหนึ่ง โดยได้วิเคราะห์ว่า ในแต่ละภูมิภาคของโลก ในขณะนี้ ได้มีการแบ่งพวกกันค่อนข้างชัดเจน โดยสามารถแบ่งกลุ่มประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกได้ออกเป็น
Master Plan on Indo-Pacific Connectivity: แผนแม่บทการเชื่อมโยงอินโด-แปซิฟิก
อาเซียนมีแผนแม่บทการเชื่อมโยงอาเซียน (Master Plan on ASEAN Connectivity : MPAC) อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบัน มีโครงการโครงสร้างพื้นฐานของประเทศมหาอำนาจต่าง ๆ อาทิ Belt and Road Initiative หรือ BRI ของจีน
สงครามเย็น 2019 (ตอนที่ 2)
คอลัมน์กระบวนทรรศน์ตอนที่แล้ว ผมได้วิเคราะห์สถานการณ์โลกในปัจจุบันว่า กำลังเข้าสู่ยุคสงครามเย็นภาค 2 ซึ่งเป็นความขัดแย้งระหว่างสหรัฐฝ่ายหนึ่ง กับจีนและรัสเซียอีกฝ่ายหนึ่ง คอลัมน์กระบวนทรรศน์ในวันนี้ จะมาวิเคราะห์สงครามเย็นปี 2019 ต่อ โดยจะวิเคราะห์ว่า ในแต่ละภูมิภาคของโลก ในขณะนี้ ได้มีการแบ่งพวกกันค่อนข้างชัดเจน โดยสามารถแบ่งกลุ่มประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกได้ออกเป็น 5 กลุ่ม กลุ่มที่
สงครามเย็น 2019
สถานการณ์โลกในขณะนี้ ผมมองว่า กำลังเข้าสู่ยุคสงครามเย็น ภาค 2 ซึ่งเกิดความขัดแย้งกันอย่างรุนแรงระหว่างมหาอำนาจ สหรัฐฝ่ายหนึ่ง กับจีนและรัสเซียอีกฝ่ายหนึ่ง ความขัดแย้งทวีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อย ๆ จนมีลักษณะคล้ายสงครามเย็น ที่เคยเกิดขึ้นมาในช่วงปี 1947 – 1990 คอลัมน์กระบวนทรรศน์ในวันนี้ จะวิเคราะห์สงครามเย็น ภาค 2 ปี
2 ปี นโยบายต่างประเทศ Donald Trump
Donald Trump ได้ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐมาตั้งแต่ต้นปี 2017 ตอนนี้ Trump ก็เป็นประธานาธิบดีมาครบ 2 ปี ครึ่งทางแล้ว คอลัมน์กระบวนทรรศน์ในวันนี้ จะมาวิเคราะห์ว่า นโยบายต่างประเทศของ Trump ในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา เป็นอย่างไร ดังนี้ นโยบายต่างประเทศในภาพรวม
Global Risks 2019
ในการประชุม World Economic Forum ที่เมือง Davos, Switzerland เมื่อวันที่ 22-25 มกราคม ที่ผ่านมา ได้มีการเผยแพร่เอกสารคาดการณ์สถานการณ์โลกในปี 2019 ซึ่งมีชื่อว่า Global Risks Report 2019 คอลัมน์กระบวนทรรศน์ในวันนี้ จะสรุปวิเคราะห์เอกสารดังกล่าว
สรุปสถานการณ์โลกปี 2018 และแนวโน้มปี 2019 (ตอนที่ 2)
คอลัมน์กระบวนทรรศน์ตอนที่แล้ว ผมได้สรุปสถานการณ์โลกในช่วง 1 ปีที่ผ่านมาไปแล้ว สำหรับตอนที่ 2 นี้ ผมจะวิเคราะห์คาดการณ์แนวโน้มสถานการณ์โลกในปี 2019 ดังนี้ ความขัดแย้งจีน – สหรัฐ ปีที่แล้ว ถือเป็นปีที่จีนกับสหรัฐขัดแย้งกันรุนแรงที่สุด นับตั้งแต่สงครามเย็นสิ้นสุดลง สำหรับในปีนี้ ปี 2019 ความขัดแย้งระหว่าง
สรุปสถานการณ์โลกปี 2018 และแนวโน้มปี 2019 (ตอนที่ 1)
คอลัมน์กระบวนทรรศน์ในวันนี้ เป็นตอนต้อนรับปีใหม่ ปี 2019 ผมจึงอยากจะสรุปสถานการณ์โลกในช่วงหนึ่งปีที่ผ่านมา และวิเคราะห์ คาดการณ์ แนวโน้มสถานการณ์โลกในปี 2019 โดยในตอนนี้ จะขอสรุปสถานการณ์โลกในรอบปีที่ผ่านมาก่อน ดังนี้ วิกฤตินิวเคลียร์อิหร่านและเกาหลีเหนือ ปีที่แล้ว สถานการณ์โลกเรื่องใหญ่เรื่องหนึ่งคือ วิกฤตินิวเคลียร์อิหร่านและเกาหลีเหนือ ในกรณีของอิหร่าน วิกฤตินิวเคลียร์ได้ยืดเยื้อเรื้อรังมาหลายสิบปี แต่ในปี 2015
สงครามการค้าโลก (ตอนที่ 4)
สงคราม 4.0 ผมได้เขียนเกี่ยวกับสงครามการค้าโลกระหว่างจีนกับสหรัฐมาแล้ว 3 ตอน โดยได้เน้นไปในเรื่องสงครามการค้าสินค้า และเรื่องมาตรการขึ้นภาษีศุลกากรเป็นหลัก อย่างไรก็ตาม ยังมีอีกมิติหนึ่ง ที่สำคัญมากในสงครามการค้าระหว่างสหรัฐกับจีน คือ สงครามเทคโนโลยี หรือที่ผมอยากจะใช้คำว่า สงคราม 4.0 ซึ่งเป็นอีกสมรภูมิหนึ่ง ที่สำคัญอย่างยิ่งต่อสงครามเศรษฐกิจระหว่างสหรัฐกับจีนในขณะนี้ 4.0 คำว่า 4.0
Trump กับยุทธศาสตร์ Indo-Pacific
Trump กับยุทธศาสตร์ Indo-Pacific คอลัมน์กระบวนทรรศน์ในวันนี้ จะวิเคราะห์ยุทธศาสตร์ของรัฐบาล Trump ต่อเอเชีย ที่เรียกว่ายุทธศาสตร์ Indo-Pacific โดยจะมีรายละเอียดดังนี้ Grand Strategy ในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา Trump ไม่ได้มียุทธศาสตรที่ชัดเจนต่อเอเชีย ในปี 2017 ก็ไม่มียุทธศาสตร์ชัด
ทัศนคติเยาวชนไทยต่อความสัมพันธ์ไทย – สหรัฐ
เมื่อเร็ว ๆ นี้ สมาคมอเมริกาศึกษาในประเทศไทย ( American Studies Association in Thailand : ASAT ) ซึ่งผมเป็นนายกสมาคมอยู่ ได้ร่วมกับ Asia Foundation ทำการวิจัยสำรวจทัศนคติของนักศึกษาไทย ต่อความสัมพันธ์ไทย –
ไทยกับการเป็นประธานอาเซียนปี 2019 (ตอนที่ 5)
คอลัมน์กระบวนทรรศน์ตอนที่แล้ว ผมได้เขียนเกี่ยวกับ ไทยกับการเป็นประธานอาเซียนปี 2019 ตอนที่ 4 ไปแล้ว โดยได้เน้นเรื่องสำคัญ ๆ ที่ไทยในฐานะประธานอาเซียนควรผลักดันในปีหน้า ซึ่งตอนที่แล้ว ได้เน้น Intra-ASEAN คือเรื่องที่ไทยควรผลักดันระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ สำหรับคอลัมน์ในวันนี้จะเน้น Extra-ASEAN คือเรื่องที่ไทยควรผลักดัน ระหว่างอาเซียนกับมหาอำนาจ
ไทยกับการเป็นประธานอาเซียนปี 2019 (ตอนที่ 4)
ผมได้เขียนเกี่ยวกับบทบาทของไทย ในการเป็นประธานอาเซียนในปี 2019 ไปแล้ว 3 ตอน คอลัมน์กระบวนทรรศน์ในวันนี้ ผมจะเขียนเรื่องนี้ต่อ ซึ่งจะเป็นตอนที่ 4 โดยจะเน้นเรื่องสำคัญ ๆ ที่ไทยควรจะผลักดันในปีหน้า ดังนี้ Intra – ASEAN 1. ASEAN
ยุทธศาสตร์สหรัฐฯ ต่อจีน ปี 2018
ยุทธศาสตร์สหรัฐฯ ต่อจีน ปี 2018 เมื่อวันที่ 4 ตุลาคมที่ผ่านมา รองประธานาธิบดีสหรัฐฯ Mike Pence ได้กล่าวสุนทรพจน์ที่ Hudson Institute กรุงวอชิงตัน ดีซี ประกาศนโยบายของรัฐบาล Trump ล่าสุดต่อจีน
การประชุม “Belt and Road Initiative : Opportunities and Implications for Nepal and the Region”
ศ.ดร.ประภัสสร์ เทพชาตรี ได้รับเชิญเป็นวิทยากรในการประชุม “Belt and Road Initiative : Opportunities and Implications for Nepal and the Region”
การบรรยายในหลักสูตรฝึกอบรมเรื่อง “การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพครูผู้สอนสาขาวิชาชีพช่างอุตสาหกรรมอาชีวศึกษาเพื่อรองรับนโยบายประเทศไทย 4.0 และการเข้าสู่ประชาคมอาเชียน”
ศ.ดร.ประภัสสร์ เทพชาตรี เป็นวิทยากรบรรยายในหลักสูตรฝึกอบรมเรื่อง “การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพครูผู้สอนสาขาวิชาชีพช่างอุตสาหกรรมอาชีวศึกษาเพื่อรองรับนโยบายประเทศไทย 4.0 และการเข้าสู่ประชาคมอาเชียน” จัดโดยศูนย์อาเชียนและเอเชียศึกษา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ นิด้า เมื่อวันที่ 3 กันยายน 2561 ณ ห้องประชุมชั้น 3 อาคารนวมินทราทิราช นิด้า
งานสัมมนาเรื่อง “สงครามการเมืองระหว่างจีนกับสหรัฐอเมริกา”
ศ.ดร.ประภัสสร์ เทพชาตรี ได้เข้าร่วมเป็นวิทยากรในการสัมมนาเรื่อง “สงครามการเมืองระหว่างจีนกับสหรัฐอเมริกา” จัดโดยสถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2561 ณ ห้องประชุมประกอบ หุตะสิงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
งานเสวนาประชาคมอาเซียนของรัฐสภา ครั้งที่ 4 และงานสัปดาห์จุฬาฯ อาเชียนครั้งที่ 7 ในหัวข้อเรื่อง “The Roles of ASEAN Member Parliaments in Facing Challengers in the New World Order “
ศ.ดร.ประภัสสร์ เทพชาตรี ร่วมเป็นวิทยากรเสวนาในงานเสวนาประชาคมอาเซียนของรัฐสภา ครั้งที่ 4 และงานสัปดาห์จุฬาฯ อาเชียนครั้งที่ 7 ในหัวข้อเรื่อง ” The Roles of ASEAN Member Parliaments in Facing Challengers in
งานเสวนาเรื่อง “ประเทศไทยกับการขับเคลื่อนอาเซียนในปี 2562″
ศ.ดร.ประภัสสร์ เทพชาตรี ได้เข้าร่วมเสวนาเรื่อง “ประเทศไทยกับการขับเคลื่อนอาเซียนในปี 2562 ” จัดโดยศูนย์ประชาคมอาเซียน สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2561 ณ อาคารรัฐสภา 1 สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร