Logo
  • หน้าหลัก
  • ประวัติ
  • ผลงานวิชาการ
  • ผลงานอื่นๆ
    • หนังสือ
    • Powerpoint
    • สัมภาษณ์รายการต่างๆ
    • บทความอื่นๆ
  • Blog
  • Gallery ภาพส่วนตัว
  • ติดต่อ
Copyright, 2015 : drprapat.com - All rights reserved.

TagWTO

November 29, 2011
บทความ
0

ผลการประชุมสุดยอดเอเปคที่ฮาวาย

ตีพิมพ์ใน ไทยโพสต์ ฉบับวันพฤหัสบดีที่ 17 พฤศจิกายน 2554 เมื่อช่วงสัปดาห์ที่แล้ว ได้มีการประชุมสุดยอดเอเปคครั้งล่าสุด ที่โฮโนลูลู ฮาวาย โดยสหรัฐฯเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม คอลัมน์กระบวนทรรศน์ในวันนี้ จะสรุป วิเคราะห์ ผลการประชุม ดังนี้

Continue Reading
August 3, 2011
บทความ
0

ข้อเสนอยุทธศาสตร์ด้านการต่างประเทศของไทยในอนาคต (ตอนจบ)

ตีพิมพ์ใน สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์ ฉบับวันศุกร์ที่ 15 – วันพฤหัสบดีที่ 21 กรกฎาคม 2554 คอลัมน์โลกทรรศน์ตอนที่แล้ว ผมได้นำเสนอ ข้อเสนอยุทธศาสตร์การต่างประเทศของไทยในอนาคต โดยเฉพาะยุทธศาสตร์ด้านการเมืองความมั่นคงไปแล้ว สำหรับในตอนนี้ จะนำเสนอยุทธศาสตร์ด้านเศรษฐกิจ ดังนี้ 

Continue Reading
May 4, 2011
บทความ
0

ยุทธศาสตร์สหรัฐฯต่อเอเชีย ปี 2011 (ตอนที่ 2)

ตีพิมพ์ไน สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์ ฉบับวันศุกร์ที่ 22-วันพฤหัสบดีที่ 28 เมษายน 2554 เมื่อวันที่ 31 มีนาคม Kurt Campbell อธิบดีกรมเอเชียตะวันออกและแปซิฟิก กระทรวงต่างประเทศสหรัฐฯ ได้แถลงนโยบายต่างประเทศสหรัฐฯต่อเอเชีย ต่อคณะกรรมาธิการต่างประเทศ สภาคองเกรส คอลัมน์โลกทรรศน์ จะสรุป และวิเคราะห์คำแถลงดังกล่าว

Continue Reading
April 25, 2011
บทความ
0

ระเบียบโลกใหม่ปี 2020 : ผลกระทบและการปรับตัวของไทย (ตอนจบ)

ตีพิมพ์ใน ไทยโพสต์ ฉบับวันพฤหัสบดีที่ 21 เมษายน 2554 คอลัมน์กระบวนทรรศน์ตอนที่แล้ว ผมได้วิเคราะห์ภูมิหลังของระเบียบโลกปี 2020 โดยได้พูดถึงระเบียบโลกในยุคหลังสงครามเย็น และระเบียบโลกในปัจจุบันไปแล้ว สำหรับคอลัมน์ในตอนนี้ ซึ่งจะเป็นตอนจบ ผมจะมาวิเคราะห์ต่อถึงแนวโน้มระเบียบโลกใหม่ในอนาคตอีก 10 ปี ข้างหน้า คือ ประมาณปี 2020

Continue Reading
April 11, 2011
บทความ
0

ระเบียบโลกใหม่ปี 2020 : ผลกระทบและการปรับตัวของไทย (ตอนที่ 1)

ตีพิมพ์ใน ไทยโพสต์ ฉบับวันพฤหัสบดีที่ 7เมษายน 2554 คอลัมน์กระบวนทรรศน์ในตอนนี้และตอนหน้า ผมอยากจะฉายภาพกว้างๆว่า ในช่วง 10 ปีข้างหน้า จะเกิดอะไรขึ้นบ้าง คือ ระเบียบโลกใหม่ในปี 2020 จะเป็นอย่างไร จะมีผลกระทบอะไรบ้าง และไทยเราจะต้องเตรียมรับมืออย่างไร

Continue Reading
February 24, 2011
บทความ
0

2 ปี นโยบายต่างประเทศรัฐบาลอภิสิทธิ์ (ตอนจบ)

ตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ไทยโพสต์ ฉบับประจำวันพฤหัสบดีที่ 24 กุมภาพันธ์ 2554 คอลัมน์กระบวนทรรศน์ตอนที่แล้ว ผมได้พูดถึงภูมิหลังของนโยบายต่างประเทศไทย และได้ประเมินนโยบายต่างประเทศของรัฐบาลอภิสิทธิ์ในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา โดยได้พูดถึงความสำเร็จไปแล้ว คอลัมน์กระบวนทรรศน์ในวันนี้ จะมาวิเคราะห์ต่อ โดยจะประเมินถึงความล้มเหลว และในตอนสุดท้ายของบทความ ผมจะนำเสนอข้อเสนอแนะด้วยว่า นโยบายต่างประเทศของไทย ในอนาคต ควรจะเป็นอย่างไร

Continue Reading
February 6, 2011
บทความ
0

ผลการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนที่อินโดนีเซีย

ตีพิมพ์ในไทยโพสต์ ฉบับวันที่ 28 มกราคม 2554 เมื่อช่วงวันที่ 16-17 มกราคมที่ผ่านมา ได้มีการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนอย่างไม่เป็นทางการ ที่ Lombok อินโดนีเซีย คอลัมน์กระบวนทรรศน์ในวันนี้ จะวิเคราะห์ผลการประชุมดังกล่าว ดังนี้ การเป็นประธานอาเซียนของอินโดนีเซีย

Continue Reading
รศ.ดร.ประภัสสร์ เทพชาตรี ศ.ดร.ประภัสสร์ เทพชาตรี ปัจจุบันเป็นศาสตราจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้บรรยายพิเศษในสถาบันต่างๆ อาทิ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันพระปกเกล้า มีงานเขียน งานวิจัย ด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และมีคอลัมน์ประจำ "กระบวนทรรศน์" ในหนังสือพิมพ์ไทยโพสต์และคอลัมน์ประจำ "โลกทรรศน์" ในสยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์
  • หนังสือ "ยุทศาสตร์สหรัฐฯต่อเอเชียตะวันออกเฉียงใต้"

  • หนังสือ "ประชาคมเอเชียตะวันออก"

  • หนังสือ "ประชาคมอาเซียน"

  • หนังสือ "สถานการณ์โลกปี 2553 และแนวโน้มปี 2554"

  • ปกนโยบายต่างประเทศ-USA-แก้-2557-07-28-at-3.05.01-PM

1/4

Calendar

April 2021
M T W T F S S
« Apr    
 1234
567891011
12131415161718
19202122232425
2627282930  

Blog

drprapat-header-3

LINKS

คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ศึกษานโยบายระหว่างประเทศ (CIPS) ศูนย์ศึกษานโยบายระหว่างประเทศ (CIPS)

Tags

AEC al-Qaeda APEC ARF ASEAN Clinton Donald Trump EAS EU eurozone FTA G-20 ISIS Obama the rise of China TPP UN UNSC WTO การก่อการร้าย การต่างประเทศของไทย การประชุมสุดยอดอาเซียน-สหรัฐฯ ความขัดแย้ง ความขัดแย้งทะเลจีนใต้ ความมั่นคง จีน ตะวันออกกลาง ประชาคมอาเซียน ประเทศมหาอำนาจ พม่า ยุทธศาสตร์สหรัฐฯ รัสเซีย วิกฤต Eurozone สงคราม สงครามการค้า สหรัฐ สหรัฐอเมริกา สหรัฐฯ อัฟกานิสถาน อาเซียน อิหร่าน เกาหลีเหนือ เศรษฐกิจ เอเชีย ไทย